ระบบราชการไทย - An Overview

โครงสร้างขนาดใหญ่ทำให้งานล่าช้า ระบบราชการไทยจากอดีตมีขนาดใหญ่ มีความสลับซับซ้อน มีสายการบังคับบัญชามาก เป็นปัญหาที่ขาดการแก้ไขหรือปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อการขาดประสิทธิภาพ ไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้อย่างน่าพอใจจำเป็นต้องมีการปฏิรูปให้เกิดประสิทธิภาพ มีขนาดองค์การที่เล็กลง สามารถให้บริการเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้มากขึ้น

คณะอนุกรรมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ (อ.ค.ต.ป.)

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

ข้ามไปเนื้อหา เมนูหลัก เมนูหลัก

กฏหมายที่เกี่ยวข้อง แผนปฏิบัติราชการ นโยบายจริยธรรมขององค์กร การบริหารทรัพยากรบุคคล แผนปฏิบัติราชการประจำปี เอกสารวิชาการ นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

จากแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ส่งผลทำให้ระบบบริหารราชการไทยจำต้องมีการปฏิรูปตามยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ดังได้กล่าวมาแล้ว ในอนาคตระบบบริหารราชการไทยก็จะมีลักษณะการบริหารงานที่ยืดหยุ่น มีระบบกลไกตลาดเข้ามาเกี่ยวข้อง องค์การราชการจะต้องมีการแข่งขันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาการบริหารงาน ระบบราชการไทย มีข้าราชการที่มีสมรรถนะสูงเข้ามาปฏิบัติงาน รวมทั้งการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารงานมากขึ้น ทั้งนี้ เพื่อเป้าหมายในการตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ

นปร. : โครงการพัฒนานักบริหารการเปลี่ยนแปลงรุ่นใหม่

พ.ร.ให้สอดคล้องกับภารกิจ เทคโนโลยี และมีประสิทธิภาพ

ความหมายของการบริหารงานภาครัฐแนวใหม่

เป็นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับภาพรวมของระบบราชการไทย ประกอบด้วย การจัดโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดินและระบบราชการ ทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น หลักการและกระบวนการบริหารราชการ ประเภทของข้าราชการและบุคลากรในระบบราชการ และทิศทางการปฏิรูปและพัฒนาระบบการบริหารราชการ จำนวนชั่วโมงเรียนรู้

การจัดอันดับความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจของประเทศไทย

ผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ

ที่เน้นการทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วน ทั้งในแนวระนาบ คือสร้างความร่วมมือจากภาคประชาชน  ภาคประชาสังคม   ภาคธุรกิจ/ภาคเอกชน นักวิชาการ  สื่อสารมวลชน ฯลฯ  และแนวดิ่ง คือบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานภาครัฐ  ที่เกี่ยวข้องเพื่อเชื่อมโยงการทำงาน และสร้างเอกภาพของการบริหารราชการแผ่นดิน 

พ.ร.) และดําเนินการตามที่ ก.พ.ร. มอบหมาย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *